วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
- Be the first to comment
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
- 1. วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ โดย ว่าที่ ร.ต. หญิง พุทธิดา ไท้ยง้วน RTANC’ 50
- 2. 1. มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ 1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ 1.2 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร 1.3 บทบาทพยาบาล ผู้ดูแล ครอบครัว สังคมต่อการดูแลผู้สูงอายุ 1.4 นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และแผนพัฒนาผู้สูงอายุแห่งชาติ 1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ
- 3. 1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ ความหมาย ประเทศไทย: ตาม พรบ. 2546 ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีสัญชาติไทย องค์กรสหประชาชาติ: กาหนดมาตรฐานเดียวกันทั่วโลกให้ ผู้สูงอายุ คือ ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป องค์การอนามัยโลก: หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 60 ปี หรือมากกว่าเมื่อ นับตามวัย ผู้ที่เกษียณอายุเมื่อนับตามสภาพเศรษฐกิจ WHO: ประเทศที่พัฒนาแล้วใช้เกณฑ์อายุ 65 ปี คือผู้สูงอายุ
- 4. 1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ ประเภท 1. การสูงอายุตามวัย: แบ่งผู้สูงอายุออกเป็น 3 กลุ่ม 1.1 ผู้สูงอายุวัยต้น (60-69 ปี) 1.2 ผู้สูงอายุวัยกลาง (70-79 ปี) 1.3 ผู้สูงอายุวัยปลาย (80 ปีขึ้นไป) 2. การสูงอายุตามสภาพร่างกาย: แบ่งออกเป็น 4 ช่วง 2.1 ช่วงไม่ค่อยแก่ (The young-old) อายุประมาณ 60-69 ปี 2.2 ช่วงแก่ปานกลาง (The middle age-old) อายุประมาณ 70-79 ปี 2.3 ช่วงแก่จริง (The old-old) อายุประมาณ 80-90 ปี 2.4 ช่วงแก่จริงๆ (The very old-old) อายุประมาณ 90-99 ปี
- 5. 1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ ประเภท (ต่อ) 3. การสูงอายุตามสภาพจิตใจ: การรับรู้ ความคิด เชาว์ปัญญา และ ลักษณะบุคลิกที่ปรากฏในระยะต่างๆของชีวิต 4. การสูงอายุตามสภาพสังคม: การเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ทางสังคม เช่น การเกษียณอายุ 5. การสูงอายุตามความสามารถในการทาหน้าที่: แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม 5.1 กลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองได้ดี (กลุ่มสีเขียว) 5.2 กลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง (กลุ่มสีเหลือง) 5.3 กลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ (กลุ่มlแดง)
- 6. 1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ ประเภท (ต่อ) Successful Aging - การสูงอายุที่ประสบความสาเร็จ มองการสูงอายุในทางบวก พึ่งพาช่วยเหลือ ตนเองได้ - แนวคิดนี้ตั้งอยู่บนแนวคิดพื้นฐาน 2 ประการ คือ 1. บุคคลแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกัน 2. บุคคลมีความยืดหยุ่นต่อสถานการณ์ต่างๆ - มี 3 องค์ประกอบ 1. ลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคแลภาวะทุพโภชนาการ 2. การเพิ่มการทาหน้าที่ของสติปัญญา 3. การมีชีวิตอยู่อย่างเป็นประโยชน์
- 7. 1.1 ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ ประเภท (ต่อ) Active aging - พฤฒพลัง หมายถึง กระบวนการและการเตรียมตัวสู่ภาวะสูงอายุอย่างมี คุณภาพนาไปสู่สุขภาพ การมีส่วนร่วม และหลักประกันในการสร้างเสริม คุณภาพชีวิต มี 3 เสาหลัก - สุขภาพ: การป้ องกัน รักษา ฟื้นฟูให้มีสุขภาพดี ไม่พิการ ช่วยเหลือตัวเองได้ - การมีส่วนร่วม : การยอมรับในครอบครัว และชุมชน - หลักประกัน: ให้ความมั่นคงทางการเงิน หลักประกันสังคม ลดความไม่เท่า เทียม
- 8. 1.2 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ เนื่องจากมี ประชากรผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด ปิรามิดประชากรมีการเปลี่ยนลักษณะจากรูปร่าง ระฆังคว่า (ปี 2533) เป็น แจกัน (ปี 2562) และคาดว่าปี 2573 จะมีลักษณะ คล้าย รวงผึ้ง ผลกระทบ: ทาให้เกิดภาวะพึ่งพิง และประเทศเสียเปรียบทาง เศรษฐกิจ รัฐต้องจ่ายค่าประกันสังคม และสวัสดิการในการดูแล ผู้สูงอายุมากขึ้น
- 9. 1.3 บทบาทพยาบาล ผู้ดูแล ครอบครัว สังคมต่อการ ดูแลผู้สูงอายุ เน้นการดารงความสามารถของผู้สูงอายุในการดารงชีวิตอย่างปกติ แม้มีข้อจากัดเกิดขึ้น 1. ดารงสุขภาพที่ดีทั้งร่างกาย จิตสังคม จิตวิญญาณ 2. ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุช่วยเหลือตนเองให้มากที่สุด 3. กระตุ้นให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้ 4. ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 5. ป้ องกันการเจ็บป่วยเรื้อรัง และภาวะแทรกซ้อนต่างๆ 6. ฟื้นฟูสุขภาพให้กลับสู่สภาพปกติ 7. ดารงการดารงชีวิตปกติ แม้เจ็บป่วย
- 10. 1.4 นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และแผนพัฒนา ผู้สูงอายุแห่งชาติ จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ 1. ให้ความเคารพยกย่อง 2. เข้าใจข้อจากัดต่างๆ 3. เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ 4. ปฏิบัติต่อผู้สูงอายุด้วยความห่วงใย 5. มีความมั่นคงในอารมณ์ ยึดมั่นในความดี
- 11. 1.4 นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และแผนพัฒนา ผู้สูงอายุแห่งชาติ พรบ. ผู้สูงอายุพ.ศ. 2546 ที่สาคัญ คือ มาตรา 3: ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมี สัญชาติไทย มาตรา 11: พูดถึงสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครอง การส่งเสริม และ การสนับสนุนด้านต่างๆ (อ่านเพิ่มเติม) มาตรา 13: การจัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริม คุ้มครอง และ สนับสนุนผู้สูงอายุ มาตรา 16: การบริจาคเงินให้กองทุนนี้ สามารถนาไปลดหย่อนภาษีได้ มาตรา 17: ผู้อุปการะบุพการีที่ไม่มีรายได้พอเลี้ยงชีพ มีสิทธิไได้รับการ ลดหย่อนภาษีตามเกณฑ์
- 12. 1.4 นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และแผนพัฒนา ผู้สูงอายุแห่งชาติ แผนพัฒนาผู้สูงอายุฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) • ปรัชญา – สร้างหลักประกันในวัยสูงอายุ โดยการสร้างความ มั่นคงให้แก่สังคม ลาดับขั้นตอน: 1. ประชากรช่วยเหลือตัวเอง 2. ครอบครัวเกื้อหนุน 3. ชุมชนช่วยเหลือ 4. สังคม-รัฐเกื้อหนุน
- 13. 1.4 นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และแผนพัฒนา ผู้สูงอายุแห่งชาติ แผนพัฒนาผู้สูงอายุฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) (ต่อ) • วิสัยทัศน์ “ผู้สูงอายุเป็นหลักชัยของสังคม” • ยุทธศาสตร์ 5 ยุทธศาสตร์ 1. ด้านการเตรียมความพร้อมของประชาชนเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ 2. ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ 3. ด้านระบบภูมิคุ้มกันทางสังคม 4. ด้านการบริหารจัดการ เพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติและ การพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ 5. ด้านการประมวลและพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุ และการติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ
- 14. 1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ 1. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 1.1 กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ 1.1.1 สถานสงเคราะห์คนชรา 1.1.2 ศูนย์บริการทางสังคมผู้สูงอายุ 1.1.3 บริการหน่วยเคลื่อนที่ 1.1.4 การสงเคราะห์เครื่องอุปโภค บริโภค เครื่องช่วยความพิการและ อื่นๆ 1.1.5 การจัดอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ
- 15. 1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ 1. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ต่อ) 1.2 สานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ (สทส.) 1.2.1 พัฒนามาตรการ และกลไก 1.2.2 ส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ 1.2.3 คุ้มครองและพิทักษ์สิทธิไผู้สูงอายุ 1.2.4 เลขานุการของคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ
- 16. 1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ 1. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์(ต่อ) 1.3 สานักปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ - สนับสนุนเงินอุดหนุนแก่องค์กรเอกชนมูลนิธิที่ดาเนินงานด้าน ผู้สูงอายุ ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2517 เป็นต้นมา 2. กระทรวงแรงงาน 2.1 สานักประกันสังคม 2.2 กรมการจัดหางาน 2.3 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
- 17. 1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ 3. กระทรวงศึกษาธิการ 3.1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ) 3.2 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (ส.ช.) 4. กระทรวงวัฒนธรรม 5. กระทรวงสาธารณะสุข 5.1 กรมอนามัย 5.2 สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5.3 กรมการแพทย์ 5.4 กรมสุขภาพจิต 5.5 สานักงานประกันสุขภาพ 5.6 สถาบันวิจัยระบบสาธารณะสุข
- 18. 1.5 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สาหรับผู้สูงอายุ 6. กระทรวงมหาดไทย 6.1 กรมการพัฒนาชุมชน 6.2 กรมส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 7. กระทรวงคมนาคม 8. กระทรวงการท่องเที่ยวและการกีฬา 9. สานักนายกรัฐมนตรี 10.กระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 11. กระทรวงการคลัง 12. กระทรวงยุติธรรม
- 19. 2. เจตคติการดูแลผู้สูงอายุ 2.1 จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ 2.2 เจตคติต่อการดูแลผู้สูงอายุ
- 20. 2.1 จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ 1. ต้องมีความรับผิดชอบ 2. มีความซื่อสัตย์ 3. ความกตัญญูกตเวที 4. ความมีระเบียบวินัย 5. เสียสละ 6. อุตสาหะ 7. ความเมตตา กรุณา 8. ให้การดูแล 9. ให้การช่วยเหลือ 10. ให้การประคับประคองทั้งร่างกายจิตใจ 11. ให้การสนับสนุน 12. เป็นผู้ประสานงานระหว่างบุตรหลานและญาติมิตร
- 21. 2.2 เจตคติต่อการดูแลผู้สูงอายุ ให้การดูแลด้วยความรัก ความเคารพ ยกย่อง ดูแลเอาใจใส่ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ยอมรับข้อจากัด และความสามารถ ของผู้สูงอายุ
- 22. 3. ทฤษฎีความสูงอายุ 3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ (1) Cross linkage theory (2) Free radical theory (3) Wear and tear theory (4) Accumulative theory (5) Genetic program and error theory
- 23. 3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ Cross linkage theory - ทฤษฎีเชื่อมตามขวาง หรือ ทฤษฏีคอลลาเจน • ความสูงอายุเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของสารไขว้ขวาง คือ คอลลาเจน อีลาสติน และสารภายในเซลล์เนื้อเยื่อ • เชื่อว่า เมื่อมีอายุมากขึ้น คอลลาเจนจะเสียความยืดหยุ่น ทาให้เกิด ความเสื่อมของอวัยวะต่างๆ
- 24. 3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ Wear and tear theory - ทฤษฎีการเสื่อมสลาย • การบาดเจ็บเล็กๆน้อยๆอย่างต่อเนื่องจากการใช้อวัยวะมาเป็น เวลานาน หรือใช้อย่างหักโหมสะสมมาเรื่อยๆ เมื่ออายุมากขึ้น จึง เกิดการตายของเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ และระบบต่างๆในร่างกาย ทางานเสื่อมลง • นอกจากนี้ยังอาจเกิดจากการผ่าเหล่าของ DNA ที่ทาหน้าที่ผิดปกติ • เน้นการสร้างเสริมสุขภาพและชะลอความเสื่อของร่างกาย
- 25. 3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ Free radical theory - ทฤษฎีอนุมูลอิสระ - กล่าวถึงกระบวนการออกซิเดชั่นของออกซิเจน ที่ไม่สมบูรณ์ใน กระบวนการเผาผลาญสารจาพวกโปรตีน, คาร์โบไฮเดรตและอื่นๆ ทาให้เกิดเป็นอนุมูลอิสระ • ที่มีความสามารถในการทาลายผนังเซลล์ของโมเลกุลอนุมูลอิสระ เมื่อแตกออกจะไปจับกับโมเลกุลอื่นๆ ใกล้เคียง พากันเสียหน้าที่ หมด • สารต้านอนุมูลอิสระได้แก่ วิตามิน A, C และ E
- 26. 3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ Accumulative theory - ทฤษฎีการสะสม • เชื่อว่าการสูงอายุเกิดจากการสะสมสารที่เป็นอันตรายต่อเซลล์ สารนี้คือ Lipofuscin เป็นรงควัตถุที่มีส่วนประกอบเป็นไขมันและ โปรตีน ทาให้การทางานของเซลล์ผิดปกติ • พบมากในตับ รังไข่ เซลล์ประสาท กล้ามเนื้อหัวใจ ผิวหนัง • วิตามิน อี และ Selenium ทาลายโซ่ Lipofuscin พบใน ผักใบเขียว เครื่องในสัตว์ ผลไม้ธัญพืช
- 27. 3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ Genetic program and error theory - ทฤษฎีพันธุกรรม • การสูงอายุถูกควบคุมด้วยพันธุกรรม โดยกลไกภายในเรียกว่า “Genetic clock” มีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเมื่ออายุมากขึ้น • เซลล์ต้นกาเนิดถูกกาหนดครั้งของการแบ่งตัว จานวนครั้งยิ่งมาก อายุขัยยิ่งยาวนาน
- 28. 3.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ ตัวอย่างข้อสอบ ตัวอย่าง 1: ผลจากการสูบบุหรี่ระยะยาว ทาให้ความยืดหยุ่น ของ Connective tissue ลดลง อธิบายด้วยทฤษฏีใด 1. Error theory 2. Free radical theory 3. Ware and tear theory 4. Cross linkage theory
- 29. 3. ทฤษฎีความสูงอายุ(ต่อ) 3.2 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม (1) Disengagement theory (2) Activity theory (3) Continuity theory
- 30. 3.2 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม Disengagement theory - ทฤษฎีการถดถอยจากสังคม • ผู้สูงอายุและสังคมจะลดบทบาทซึ่งกันและกันอย่างค่อยเป็นค่อยไป ตามความต้องการของร่างกายที่ไม่อาจเลี่ยงได้ เพราะคิดว่าตนเอง มีความสามารถลดลง • ต้องกระตุ้นให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมกับสมาชิกต่างวัยเพื่อลด ความเชื่อดังกล่าว
- 31. 3.2 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม Activity theory - ทฤษฏีกิจกรรม • เชื่อว่า การที่ผู้สูงอายุได้ทากิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสมาชิกวัย เดียวกัน เน้นสัมพันธภาพระหว่างกิจกรรมทางสังคม การมีชีวิตที่ ตื่นตัว ไม่อยู่นิ่ง นามาซึ่งความสุข รู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง • ซึ่งเป็นแนวคิดที่สาคัญในการนามาจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพ ชีวิตให้แก่ผู้สูงอายุ เช่น การออกกาลังกาย
- 32. 3.2 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม Continuity theory - ทฤษฏีความต่อเนื่อง • คงไว้ซึ่งบุคลิกภาพและแบบแผนในอดีต จะส่งเสริมให้บุคคลปรับตัว ได้ในวัยสูงอาย
- 33. 4. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ 4.1 ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ - ปัจจัยภายใน (สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ประสบการณ์ ชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม) - ปัจจัยภายนอก (การศึกษา เศรษฐานะและการเกษียณการ ทางาน) 4.2 การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย 4.3 การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
- 34. 4.2 การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย • ระบบผิวหนัง • ระบบกระดูก และกล้ามเนื้อ ข้อ • ระบบหัวใจและหลอดเลือด • ระบบต่อมไร้ท่อ • ระบบทางเดินหายใจ • ระบบทางเดินอาหาร • ระบบทางเดินปัสสาวะ • ระบบประสาท
- 35. 4.3 การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม • การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ • การเปลี่ยนแปลงทางด้านสถานภาพและบทบาททางสังคม เช่น ผู้ที่เคยทางาน เมื่อครบอายุ 60 ปี ต้องออกจากงานการ • สูญเสียทบาทในการเป็นผู้นาครอบครัว • การถูกทอดทิ้ง สภาพสังคมในปัจจุบัน คนหนุ่มสาวต้องหางานทา ทาให้ ผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งอยู่ตามลาพัง • ความเคารพเชื่อถือลดลง คนส่วนใหญ่มักมองว่าผู้สูงอายุมีความสามารถ น้อยลง ทาให้ความเคารพนับถือในฐานะที่มีประสบการณ์เปลี่ยนไป เด็กไม่ให้ ความเคารพผู้ใหญ่เหมือนเช่นเคย • การสูญเสียชีวิตของคู่สมรส ญาติคนใกล้ชิดหรือเพื่อน
- 36. 5. การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ 5.1 การประเมินความสามารถในการทากิจวัตรประจาวัน (Activity Of Daily Living: ADL) 5.2 การประเมินสมรรถภาพทางจิต/ สมองของผู้สูงอายุ
- 37. 5.1 การประเมินความสามารถในการทากิจวัตร ประจาวัน (Activity Of Daily Living: ADL) การประเมิน ADL ของ Barthel’s index 10 ด้าน 1. การอาบน้า 2. การสวมใส่เสื้อผ้า 3. การใช้ห้องน้า 4. สุขวิทยาส่วนบุคคล 5. การทานอาหาร 6. การเดิน 7. การเคลื่อนย้ายจากเตียงไปเก้าอี้ 8. การกลั้นปัสสาวะ 9. การกลั้นอุจจาระ 10. การขึ้นลงบันได
- 38. 5.1 การประเมินความสามารถในการทากิจวัตร ประจาวัน (Activity Of Daily Living: ADL) การประเมินดัชนี Chula ADL index: (CAI) - ประเมินการดารงชีวิตที่ซับซ้อนขึ้น ประกอบด้วย 5 กิจกรรม 1. การเดินหรือการเคลื่อนที่ออกนอกบ้าน 2. การทาหรือการเตรียมอาหาร 3. การทาความสะอาดบ้านหรือการซักรีดเสื้อผ้า 4. การทอนเงิน การแลกเงิน 5. การใช้บริการรถเมล์หรือรถสองแถว
- 39. 5.1 การประเมินความสามารถในการทากิจวัตร ประจาวัน (Activity Of Daily Living: ADL) Time get up And go Test (TUGT) - ให้ผู้สูงอายุเดินเป็นระยะ 3 เมตร หมุนตัวแล้วเดินกลับมานั่งเก้าอี้เดิม ค่าปกติ 10-19 วินาที ผู้ที่ใช้ไม้เท้า 20 วินาที และผู้ที่ใช้ walker 41 วินาที * น้อยกว่า 10 วินาที - ไม่มีภาวะพึ่งพา * 11-19 วินาที - พึ่งพาในการเคลื่อนไหวเล็กน้อย เสี่ยงต่ออุบัติเหตุน้อยถึงปานกลาง * 20-29 วินาที - พึ่งพาในการเคลื่อนไหวปานกลาง เสี่ยงต่ออุบัติเหตุปานกลางถึงสู * มากกว่า 30 วินาที – พึ่งพามาก เสี่ยงต่อการหกล้มสูงมาก Get up and go test - ให้ผู้สูงอายุนั่งเก้าอี้ ลุกยืนโดยไม่ใช้มือยัน เดินไปข้างหน้า 10 ก้าว หยุดและ หมุนตัวกลับแล้วเดินมานั่งเก้าอี้ สังเกต Sitting balance, Standing balance จังหวะการก้าวเดิน การเซ และการหมุนตัวต่างๆ
- 40. 5.2 การประเมินสมรรถภาพทางจิต/ สมองของ ผู้สูงอายุ • แบบประเมินสุขภาพจิตผู้สูงอายุ หรือแบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุ ของไทย (Thai Geriatric Depression Scale, TGDS) มีคาถาม 30 ข้อ ใช่/ไม่ใช่ • การคิดคะแนน - คนสูงอายุปกติ 0-12 คะแนน - ผู้มีอาการเศร้าเล็กน้อย 13-18 คะแนน - ผู้มีอาการเศร้าปานกลาง 19-24 คะแนน - ผู้มีอาการเศร้ารุนแรง 25-30 คะแนน
- 41. 5.2 การประเมินสมรรถภาพทางจิต/ สมองของ ผู้สูงอายุ • แบบประเมินด้านสติปัญญา TMSE - ภาวะปกติ 24-30 คะแนน - สูญเสียการเรียนรู้เล็กน้อย 18-23 คะแนน - สูญเสียการเรียนรู้มาก 0-17 คะแนน - ภาวะสมองเสื่อม ค่าคะแนนเท่า กับหรือน้อยกว่า 23
- 42. 5.2 การประเมินสมรรถภาพทางจิต/ สมองของ ผู้สูงอายุ • แบบประเมินด้านสติปัญญา MMSE-Thai 2002 • นิยมใช้คัดกรองภาวะสมองเสื่อม เพราะประเมินได้ทั้งคนที่มี การศึกษาและไม่มีการศึกษา • ประเมิน 6 ด้าน คือ การรับรู้เวลาสถานที่ การจดจา ความตั้งใจ การคานวณ การใช้ภาษา และการระลึกได้ มีทั้งหมด 20 ข้อ
- 43. 6. การพยาบาลเพื่อสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 6.1 Physical activity (Exercise) 6.2 Fall/ Environmental 6.3 Injury/ Abuse 6.4 Nutrition 6.5 Sleep 6.6 Sexual relation 6.7 Stress management 6.8 Social participation/ Recreation
- 44. 6.1 Physical activity (Exercise) • ส่งเสริมการออกกาลังกายในผู้สูงอายุ เพื่อชะลอความเสื่อมของ ร่างกาย ลดการเกิดโรคเรื้อรัง และลดอัตราการเสื่อมของกระดูก ทาให้มีจิตใจสดชื่นแจ่มใส ดารงชีวิตได้อย่างปกติ อัตราการเต้นสูงสุดของหัวใจ = 220-อายุ • เช่น ผู้สูงอายุมีอายุ 60 ปี - อัตราการเต้นของหัวใจสูงสุดเท่ากับ 220-60 =160 b/m - ควรออกกาลังกายให้ชีพจรเต้นเร็วประมาณร้อยละ 70-80 นั่น คือ 112-128 b/m
- 45. 6.1 Physical activity (Exercise) การออกกาลังกายที่นิยมในผู้สูงอายุ 1. การทากายบริหาร: เช่น การรามวยจีน โยคะ ช่วยให้ข้อต่อกล้ามเนื้อ แข็งแรง การทรงตัวดี ไม่หกล้ม 2. การฝึ กกล้ามเนื้อเฉพาะส่วน: ส่งเสริมสรรถภาพของกล้ามเนื้อ บางส่วนเป็นพิเศษ เช่น ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ควรบริหารให้ กล้ามเนื้อต้นขาแข็งแรง 3. การเลือกเล่นกีฬาที่ตนชอบ: ส่งเสริมให้ได้พบปะกับผู้อื่น แต่ไม่ควร เลือกกีฬาที่หักโหม 4. การออกกาลังกายแบบแอโรบิค: การเคลื่อนไหวร่างกายต่อเนื่อง นาน 20-30 นาที
- 46. 6.1 Physical activity (Exercise) อาการและอาการแสดงที่ต้องหยุดออกกาลังกายทันที: 1. เจ็บ แน่นหน้าอก 2. มึนงง เวียนศีรษะ หรือเป็นลม 3. คลื่นไส้ อาเจียน 4. หน้าซีด หรือแดงคล้า 5. หัวใจเต้นผิดจังหวะ 6. ปวดขาขณะเดิน 7. หายใจลาบากหรือหายใจเร็วเกิน 10 นาทีหลังหยุดพัก 8. เหนื่อยหอบตอนกลางคืน นอนราบไม่ได้ 9. ใจสั่น หรือเต้นเร็วมากผิดปกติ
- 47. 6.1 Physical activity (Exercise) ภาวะที่ควรงดออกกาลังกายเด็ดขาด: 1. MI ที่เพิ่งเป็นไม่นาน 2. Unstable angina 3. ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่ควบคุมไม่ได้ 4. Severe aortic stenosis 5. ภาวะหัวใจวายที่ควบคุมไม่ได้ 6. Pulmonary embolism 7. กล้ามเนื้อหัวใจหรือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ 8. Dissecting aortic aneurysm 9. ภาวะติดเชื้อเฉียบพลัน
- 48. 6.2 Fall/ Environmental • สาเหตุ 1. จากภายนอกร่างกาย - Light: แสงสว่างไม่พอหรือจ้าเกินไป - Steps: บันไดมีลวดลาย หรือแคบเกินไป - Carpet: พรมย่นยับ ไม่ติดกับพื้น ขอบไม่เรียบ - Toys: ของเล่นกีดขวางทางเดิน - Pets: สัตว์เลี้ยงขนาดเล็กวิ่งวนบริเวณเท้า - Wet floor: พื้นเปียก ต่างระดับ - ทางเดินชารุด และมีพุ่มไม้เตี้ยๆ - เก้าอี้ต่าไป ลุกไม่สะดวก
- 49. 6.2 Fall/ Environmental • สาเหตุ 1. จากภายในร่างกาย - Age related factors: - Specific disease: - Drugs: - Acute ill health - มีประวัติหกล้ม และมีความเสี่ยงสูงที่จะหกล้ม - ความผิดปกติของเท้าและขา
- 50. 6.3 Injury/ Abuse • การทารุณกรรมในผู้สูงอายุ 1. การถูกละเลย: มีผื่นตามตัว กลิ่นตัวแรง ไม่ได้รับการรักษาตาม แผนการรักษา 2. การทารุณกรรมทางร่างกายในผู้สูงอายุ: พบบาดแผล และ ร่องรอยการถูกทาร้ายร่างกายต่างๆ 3. การทารุณกรรมทางเพศในผู้สูงอายุ: พบร่องรอยการถูกทาร้าย ที่อวัยวะเพศ และเต้านม 4. การทารุณกรรมทางจิตใจและอารมณ์ของผู้สูงอายุ: การต่อว่า ขู่ บังคับ เพิกเฉยไม่พูดคุยด้วย ทาให้ผู้สูงอายุมีอาการเงียบ ไม่พูดจา หวาดระแวง
- 51. 6.3 Injury/ Abuse • การดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ถูกทารุณกรรม - หลักการดูแลคือ เน้นให้ผู้สูงอายุปลอดภัย และตัดวงจรการทา ร้าย ด้วยการลดหรือกาจัดปัจจัยเสริมต่างๆ พยาบาลจึงเป็นทั้งผู้ ประเมิน ผู้บันทึกรายงาน ให้คาปรึกษา เป็นพยาน ให้ความรู้กับผู้ดูแล และให้การพยาบาลตามปัญหา และประสานงานกับหน่วยงานต่างๆใน การเข้าช่วยเหลือ
- 52. 6.4 Nutrition • ภาวะพร่องโภชนาการในผู้สูงอายุ เกิดจากความต้องการอาหารลดลง ซึ่งมีสาเหตุมาจาก 1. การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย 2. การได้รับยา และการเจ็บป่วย 3. ภาวะเศรษฐกิจไม่ดี ไม่สามารถหาอาหารที่มีประโยชน์มาทานได้ 4. แยกตัวจากสังคม จากความโศกเศร้า เหงา ว้าเหว่ • อาการและอาการแสดง: ผมร่วง แก้ม-ขมับตอบ กล้ามเนื้อลีบ ปากนกกระจอก ลิ้นเลี่ยน บวม ผิวหนังอักเสบเป็นต้น
- 53. 6.4 Nutrition • การพยาบาล 1. แนะนาเรื่องการรับประทานอาหาร โปรตีน: คาร์โบไฮเดรต: ไขมัน ให้ได้สัดส่วน 15% : 75% : 10% 2. ทานผักหรือผลไม้แทนขนมหวาน 3. เลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง ทานไข่ทั้งฟองไม่เกิน 2-3 ฟอง/สัปดาห์ ลดการปรุงอาหาร หรือทานอาหารรสเค็ม และลด การดื่มชากาแฟ 3. ทานอาหารเสริมระหว่างมื้อ 4. ส่งเสริมการรับประทานอาหารร่วมกับสมาชิกในครอบครัว
- 54. 6.5 Sleep • การนอนหลับในผู้สูงอายุแตกต่างจากคนในวัยอื่น ดังนี้ 1. เวลาในการนอนจริงลดลง : ใช้เวลานานกว่าจะหลับ ตื่นง่าย ยิ่งนอน กลางวันมาก กลางคืนมักจะนอนไม่หลับ 2. วงจรการหลับ NREM sleep stage 1 และ 2 ยาวแต่ stage 3, 4 สั้น ทา ให้ตื่นง่าย 3. ระหว่างการนอนมีการหยุดหายใจ หรือหายใจช้า 4. กรนมากขึ้น และมีการกระตุกของขา ทาให้สะดุ้งตื่นกลางดึก • การนอนไม่หลับติดต่อกันนาน 48 ชม. ทาให้เกิดการพักผ่อนไม่ เพียงพอ ทาให้อ่อนเพลีย ไม่สุขสบาย การเจ็บป่ วยหายช้า กล้ามเนื้อตึงตัว มากขึ้นรับรู้ต่อการเจ็บมากขึ้น
- 55. 6.5 Sleep การพยาบาล 1. จัดสภาพแวดล้อมส่งเสริมต่อการนอน 2. ดารงแบบแผนการนอนให้เป็นไปตามปกติ 3. จัดกิจกรรมส่งเสริมการนอน 4. หลีกเลี่ยงการใช้ยา เครื่องดื่มที่มีผลต่อการนอนให้น้อยที่สุด
- 56. 6.6 Sexual relation การเปลี่ยนแปลงทางเพศในผู้สูงอายุ เพศชาย: อวัยวะเพศแข็งตัวลดลง และอาจไม่แข็งตัวสม่าเสมอ หรือ แข็งตัวไม่เต็มที่ ขนาดอวัยวะเพศเล็กลง แต่ยังคงมีความต้องการทาง เพศเท่าเดิม แต่มีปัญหาที่บางทีอวัยวะเพศไม่แข็งตัว หรือไม่สามารถ ควบคุมการหลั่งได้ตามต้องการ เมื่อเข้าสู่วัยทองควรไปพบแพทย์ถ้ามีความต้องการทางเพศลดลง ผิดปกติ หากิจกรรมอื่นทาคลายเครียด การนวดอวัยวะเพศวันละ 3-5 นาที ช่วยให้กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น
- 57. 6.6 Sexual relation การเปลี่ยนแปลงทางเพศในผู้สูงอายุ(ต่อ) เพศหญิง: ช่องคลอดแคบลง น้าหล่อลื่นในช่องคลอดลดลง ทาให้ เจ็บปวดเมื่อมีเพศสัมพันธ์ อารมณ์และความต้องการทางเพศลดลง เร็วกว่าผู้ชาย ใช้ครีมหล่อลื่น K-Y jelly ทาอวัยวะเพศก่อนมีเพศสัมพันธ์เพื่อ บรรเทาอาการเจ็บปวด
- 58. 6.7 Stress management • สาเหตุ 1. สาเหตุทางกาย 1.1 การเจ็บป่วย 1.2 การขาดปัจจัยพื้นฐาน เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย และขาดการ รักษาเมื่อเจ็บป่วย 1.3 การถูกทาร้าย เช่น การด่าทอ ทุบตี เหยียดหยาม เป็นต้น
- 59. 6.7 Stress management 2. สาเหตุทางจิต 2.1 ปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว 2.2 การถูกทอดทิ้ง 2.3 การสูญเสีย 2.4 ความตาย
- 60. 6.7 Stress management 3. สาเหตุทางสังคม 3.1 สภาวะทางเศรษฐกิจ: รายได้ไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่าย 3.2 การเปลี่ยนแปลงบทบาทและหน้าที่ในสังคม: การเกษียณอายุ ผุ้ที่ยึดติดกับตาแหน่งจะทาให้ตนรู้สึกไร้ความสามารถ หากได้รับ ความยกย่องจากสังคมน้อยจะเครียดมาก
- 61. 6.7 Stress management • การปรับตัวต่อความเครียด 1. มุ่งแก้ปัญหา: การเผชิญกับสาเหตุของความเครียดตามความจริง - เผชิญกับปัญหา - วางแผนแก้ปัญหา 2. มุ่งปรับอารมณ์: - การทาสมาธิ การจินตนาการ การนอนหลับ การออกกาลังกาย การฝึกการหายใจ การฝึกเกร็งและคลายกล้ามเนื้อ นันทนาการ และการปล่อยวาง
- 62. 6.8 Social participation/ Recreation การมีส่วนร่วมในสังคม และนันทนาการ ผู้สูงอายุที่มีความเสื่อมของสภาพร่างกาย ร่วมกับการถูกลด บทบาทในสังคม จะทาให้ผู้สูงอายุบางส่วนปรับตัวลาบาก อาจทาให้ เครียด และเกิดภาวะซึมเศร้าได้ จึงควรนากิจกรรมนันทนาการมาใช้เป็นวิธีการสร้างกาลังใจ และส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุต่อไป
- 63. 6.8 Social participation/ Recreation ประเภทของกิจกรรมนันทนาการ 1. การออกกาลังกาย และกีฬา 2. เกมส์ 3. งานศิลปะ และหัตถกรรม 4. การทาอาหาร 5. การเล่นดนตรี เต้นรา การแสดง 6. การสนทนา และโต้วาที 7. กิจกรรมตามประเพณีและวัฒนธรรม 8. กิจกรรมทางศาสนา 9. การท่องเที่ยว
- 64. 7. การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ 7.1 ระบบประสาท: Dementia/ Delirium/ Alzheimer/ Parkinson 7.2 ระบบกระดูก/ ข้อต่างๆ: 7.2.1 Osteoarthritis 7.2.2 Osteoporosis 7.3 ระบบทางเดินอาหาร 7.4 ระบบไหลเวียนเลือด 7.5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ 7.5.1 ต่อมลูกหมากโต 7.5.2 ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
- 65. 7. การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ (ต่อ) 7.6 ประสาทสัมผัส: 7.6.1 การมองเห็น 7.6.2 การได้ยิน 7.7การพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสภาพ 7.7.1 DM 7.7.2 HT, HD 7.7.3 Stroke/ Pressure sore 7.7.4 COPD/ Pneumonia
- 66. 7.1 ระบบประสาท Dementia: โรคสมองเสื่อม เกิดจากความผิดปกติในการทางานของสมองในของเปลือกสมอง ทาให้ผู้สูงอายุมีความพิการและพึ่งพาตนเองไม่ได้ อาการและอาการแสดง: 1. บกพร่องด้านความทรงจาสิ่งใหม่ 2. บกพร่องด้านการรับรู้สิ่งใหม่ การเรียนรู้ลดลง ขาดสมาธิ 3. บกพร่องด้านการทากิจกรรมที่ซ้าซ้อน 4. บกพร่องในการตัดสินใจแก้ปัญหา การใช้ภาษา หลงทาง การทา กิจวัตรประจาวัน 5. อาการแย่ลงเมื่อพลบค่า และมีพฤติกรรมแปลกๆ เช่น สะสมของ
- 67. 7.1 ระบบประสาท Dementia: โรคสมองเสื่อม พยาบาลจึงควรตระหนักถึงความสาคัญในการให้ความรู้และ คาแนะนาแก่ผู้ดูแลจนเกิดความเข้าใจ ยอมรับผู้ป่วย เพื่อ ประคับประคองผู้ป่วยให้คงสภาพการทาหน้าที่ของสมองให้นาน ที่สุด รวมท้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
- 68. 7.1 ระบบประสาท Delirium ภาวะสับสน ภาวะสับสนเฉียบพลัน มักเกิดจากสาเหตุที่รักษาและป้ องกันได้ ซึ่งหากได้รับการรักษาที่ถูกต้องรวดเร็ว จะให้สรรถภาพของสมอง กลับคืนสู่สภาพเดิมได้ อาการและอาการแสดง คือ มีระดับความรู้สึกตัวลดลง มีการ รับรู้ต่อสิ่งแวดล้อม ร่วมกับสมาธิแลความสนใจลดลง อาจมีอาการ หูแว่วประสาทหลอน
- 69. 7.1 ระบบประสาท Delirium ภาวะสับสน พยาบาลจึงมีบทบาทสาคัญในการป้ องกันและลดปัจจัยเสี่ยง การเฝ้ าระวัง การค้นหาภาวะสับสนเฉียบพลันตั้งแต่ระยะแรก รวมทั้งการให้การพยาบาลเมื่อเกิดอาการ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับ ความปลอดภัยและลดการอยู่โรงพยาบาล
- 70. 7.1 ระบบประสาท Alzheimer - Type ของ Dementia ที่พบมากที่สุด - ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด - มี 4 ระยะ 1. Early stage: ผู้ป่วยจะมีอาการหลงลืมในเรื่องเล็กๆน้อย โดยเฉพาะ Recent memory แต่ความทรงจาในอดีต Remote ยังดีอยู่ การพยาบาล: ให้เวลาในการตอบคาถาม จัดให้พักผ่อนเป็นช่วงๆ
- 71. 7.1 ระบบประสาท Alzheimer 2. Middle stage: บุคคลรอบข้างเริ่มสังเกตเห็นความผิดปกติ เริ่มมี ปัญหาเรื่องการคิดการตัดสินใจ สูญเสียความสามารถทางคาพูด ควบคุมอารมณ์ไม่ได้ การพยาบาล: ดูแลผู้สูงอายุอย่างใกล้ชิด จัดให้ผู้สูงอายุในการทา กิจวัตรประจาวัน อานวยความสะดวก ใช้ปฏิทินตัวใหญ่ แขวน นาฬิกาให้ผู้ป่วยเห็นชัด และประเมินความสามารถของผู้สูงอายุว่า ด้านไหนลดลงบ้าง
- 72. 7.1 ระบบประสาท Alzheimer 3. Later stage: มีอาการรุนแรงมากขึ้น บกพร่องในเรื่องความรู้ ความสามารถมากขึ้น ไม่สามารถจดจาสถานที่ต่างๆได้ ไม่รับรู้ บุคคล สถานที่และเวลา บกพร่องเรื่องการดูแลตนเอง ไม่สามารถ ทรงตัวได้ดี การพยาบาล: คานึงถึงความปลอดภัย ปรับสภาพแวดล้อมให้ เหมาะสม ในรายที่มีอาการหูแว่วประสาทหลอน ต้องไปพบแพทย์ และรับประทานยา
- 73. 7.1 ระบบประสาท Alzheimer 4. Final stage: มีอาการบกพร่องด้านความจาอย่างรุนแรง จา เหตุการณ์ณ์ในอดีตไม่ได้ จาคนในครอบครัวไม่ได้ ไม่สามารถ ช่วยเหลือตนเองในการทากิจวัตรประจาวันได้ การพยาบาล: ดูแลอย่างใกล้ชิด ช่วยเหลือในการทากิจวัตร ประจาวัน
- 74. 7.1 ระบบประสาท Parkinson • เกิดจากความเสื่อมของระบบประสาท • อาการ 1. สั่นขณะพัก (Resting Tremor) 2. กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง (Muscular Rigidity) 3. เคลื่อนไหวช้า (Bradykinesia) และเคลื่อนไหวน้อย (Hypokinesia) 4. ทรงตัวไม่สม่าเสมอ (Postural instability) ก้าวเดินสั้นๆแบบซอยเท้า
- 75. 7.1 ระบบประสาท Parkinson • การพยาบาล: 1. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยทากิจวัตรด้วยตนเอง 2. ให้กินยา Levodopa ก่อนอาหาร 30 นาที 3. ฝึกการเดิน แบบค่อยๆก้าวเดิน 4. ระวังการเกิดอุบัติเหตุ พลัดตกหกล้ม 5. ส่งเสริมให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแล
- 76. 7.2 ระบบกระดูก/ ข้อต่างๆ Osteoarthritis: โรคข้อเสื่อมในกลุ่มโรคข้ออักเสบ • ภาวะปวดเข่า เข่าอักเสบ พบมากในเพศหญิงที่มีน้าหนักตัวมาก มัก เกิดบริเวณข้อที่ใช้ในการเคลื่อนไหว เช่น ข้อเข่า • อาการ: ปวด บวม แดง ร้อน ตามข้อ อาจมีอาการปวดเมื่อยเริ่ม ด้วย ข้อผิดรูปชัดเจน หรือปวดอย่างรุนแรงเมื่อต้องเดินขึ้นลง บันได
- 77. 7.2 ระบบกระดูก/ ข้อต่างๆ Osteoarthritis: โรคข้อเสื่อมในกลุ่มโรคข้ออักเสบ • การพยาบาล 1. ควบคุมน้าหนักตัว พักหรือลดการใช้งานข้อเมื่อมีอาการอักเสบ 2. ใช้ยาแก้ปวด เช่น ยาแก้ปวด NSAIDS, ยาคลายกล้ามเนื้อ ยา กล่อมประสาท เป็นต้น 3. การใช้เวชศาสตร์ฟื้นฟู เช่น การดึง การใส่ปลอกหุ้มคอ การใส่ เฝือกหลัง 4. การผ่าตัด เช่น การผ่าตัดใส่ข้อเข่าเทียม ข้อสะโพกเทียม
- 78. 7.2 ระบบกระดูก/ ข้อต่างๆ Osteoporosis (โรคกระดูกพรุน) • การที่ความหนาแน่นของกระดูกลดลง จากการสลายเกลือแร่และ แคลเซียมออกจากกระดูกมากขึ้น จากการบริโภคแคลเซียมน้อย หรือร่างกายดูดซึมได้น้อยลง • ชนิดของภาวะกระดูกพรุน 1. กระดูกพรุนหลังหมดประจาเดือน: ระดับเอสโตรเจนต่าลง ทาให้ มีการสลายกระดูกมากขึ้น 2. กระดูกพรุนในวัยสูงอายุ: สาเหตุตามที่กล่าวข้างต้น
- 79. 7.2 ระบบกระดูก/ ข้อต่างๆ Osteoporosis (โรคกระดูกพรุน) • การพยาบาล 1. ลดปัจจัยเสียงโดยให้ความรู้แก่บุคคลทั่วไป เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง และการปรับแผนการดาเนินชีวิต โดย รับประทานอาหารที่มี แคลเซียม ออกกาลังกาย 2. ป้ องกันกระดูกหัก 3. ฟื้นฟูสภาพให้ดาเนินชีวิตได้ตามปกติ
- 80. 7.3 ระบบทางเดินอาหาร • ฟันเริ่มหลุดร่วง • ต่อมน้าลายเสื่อมหน้าที่ ทาให้การย่อยแป้ งและน้าตาลในปากลดลง • ปากลิ้นแห้ง • การรับรสผิดเพี้ยนไป • เบื่ออาหาร • หลอดอาหารกว้างขึ้น กล้ามเนื้อหูรูดบริเวณปลายหลอดอาหารหย่อน ตัว ทาให้อาหารในกระเพาะอาหารย้อนกลับขึ้นมาได้ง่าย ทาให้เกิดความ รูสึกแสบยอดอก บางครั้งอาจสาลักเข้าหลอดลม ทาให้เกิดโรคปอดบวม ได้
- 81. 7.3 ระบบทางเดินอาหาร • การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารลดลง อาหารอยู่ในกระเพาะนาน ขึ้น ทาให้รู้สึกหิวน้อยลง การดูดซึมแร่ธาตุต่างๆทาได้ไม่ดี่ • ลาไส้เคลื่อนตัวไม่ดีทาให้ท้องผูก • กล้ามเนื้อหูรูดหย่อนตัว กลั้นอุจจาระไม่ได้ • ตับและไตทางานลดลง ทาให้การทาลายและขับสารออกจาก ร่างกายทาได้น้อย
- 82. 7.4 ระบบไหลเวียนเลือด • ความดันโลหิตสูง (Hypertension) • ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และกล้ามเนื้อหัวใจตาย (Ischemic Heart Disease and MI) • ภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart Failure) • โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (Peripheral Vascular Disease)
- 83. 7.4 ระบบไหลเวียนเลือด • การพยาบาล 1. ดูแลด้านจิตใจ เข้าใจถึงความรู้สึกและความต้องการของผู้ป่วย 2. ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนที่เพียงพอ 3. ดูแลให้ได้รับประทานอาหารและน้าที่เหมาะสมกับโรค 4. การขับถ่ายหลีกเลี่ยงการเบ่งถ่าย 5. ฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย
- 84. 7.5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ ต่อมลูกหมากโต • พบในเพศชาย อายุ 40 ปีขึ้นไป • อาการ: ปัสสาวะไม่สุด ปัสสาวะบ่อย กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปัสสาวะไม่ พุ่ง ไหลช้า ปัสสาวะไม่ออก • การพยาบาล: 1. ส่วนใหญ่มักจะผ่าตัด TURP
- 85. 7.5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ - กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ถ่ายปัสสาวะออกมาโดยไม่ได้ตั้งใจ - เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของระบบไต และทางเดินอาหาร คือ น้าหนักและขนาดของไตลดลง การไหลเวียนเลือดในไตลดลง อัตรา การกรองของไตลดลง ขนาดกระเพาะปัสสาวะลดลง กล้ามเนื้อ กระเพาะปัสสาวะอ่อนกาลัง ปริมาณปัสสาวะค้างในกระเพาะ ปัสสาวะเพิ่มขึ้น
- 86. 7.5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ • การพยาบาล 1. บริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน 2. แนะนาให้ปัสสาวะให้ตรงเวลา 3. ดูแลให้ได้รับน้า 2-3 ลิตรต่อวันถ้าไม่ขัดต่อโรค 4. จัดให้ห้องน้า หรืออุปกรณ์อยู่ใกล้ผู้สูงอายุ ห้องน้าไม่ควรห่างจาก ห้องนอนเกิน 30 ฟุต 5. ดูแลรักษาความสะอาด 6. จัดท่าให้ขับถ่ายได้สะดวก 7. ถ้าจาเป็นควรให้ยาขับปัสสาวะตอนกลางวัน
- 87. 7.6 ประสาทสัมผัส: การมองเห็น • สายตายาวในผู้สูงอายุ (Presbyobia) • ต้อหิน (Glaucoma) • ต้อกระจก (Senile cataract)
- 88. 7.6 ประสาทสัมผัส: การได้ยิน • การสูญเสียการได้ยินในผู้สูงอายุ (Presbycusis) • การพยาบาล: 1. ฝึกทักษะการฟังให้ผู้สูงอายุ 2. เมื่อสนทนากับผู้สูงอายุควรพูดตรงหน้า ให้ง่ายต่อการสังเกตริมฝีปาก 3. ปรึกษาแพทย์เรื่องการใช้เครื่องช่วยฟัง 4. ใช้เสียงทุ้มต่า พูดเป็นคาๆ ช้าๆ สั้นๆ กระชับ ชัดเจน ไม่ตะโกน หรือ ตะคอก 5. ใช้ภาษากายร่วมด้วย เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ
- 89. 7.7 การพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสภาพ DM: เบาหวาน • สาเหตุ 1. ความผิดปกติจากการทางานของอินซูลิน 2. ความเครียด 3. ความอ้วน 4. ผลจากยาหรือสารเคมี 5. ขาดการออกกาลังกาย 6. พันธุกรรม
- 90. 7.7 การพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสภาพ DM: เบาหวาน • การพยาบาล 1. ควบคุมอาหาร 2. ออกกาลังกาย 3. การใช้ยาในการรักษา 4. ทาบัตรประจาตัวโรคเบาหวาน 5. ดูแลรักษาเท้า
- 91. 7.7 การพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสภาพ Stroke/ Pressure sore
- 92. 7.7 การพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสภาพ COPD/ Pneumonia
- 93. 8. การใช้ยาในผู้สูงอายุ 8.1 เภสัชจลนศาสตร์ในผู้สูงอายุ และการทาปฏิกิริยาต่อกัน ของยา 8.2 ผลข้างเคียง และข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา
- 94. 8.1 เภสัชจลนศาสตร์ในผู้สูงอายุ และการทาปฏิกิริยา ต่อกันของยา การดูดซึมยา (Drug absorption) - ภาวะความเป็นกรดด่าง และการไหลเวียนเลือดไปยังลาไส้ลดลง ทาให้ยาบางชนิดต้องอาศัยการซึมผ่านโดยวิธีพิเศษ (Active transport) - การดูดซึมยาทาได้น้อยลง แต่ยาที่มีการซึมผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ธรรมดา การดูดซึมไม่เปลี่ยนแปลง
- 95. 8.1 เภสัชจลนศาสตร์ในผู้สูงอายุ และการทาปฏิกิริยา ต่อกันของยา การกระจายตัวของยา (Drug distribution) - ปริมาณน้าในร่างกายลดลง แต่ไขมันเพิ่มขึ้น ทาให้ยาบางชนิดที่ ละลายในไขมัน จะถูกเก็บสะสมไว้ในร่างกาย และออกฤทธิไยาวนานขึ้น - ระดับอัลบูมินในเลือดที่สามารถรวมตัวกับยาลดลง ทาให้ยาในรูป อิสระมีปริมาณสูงขึ้น
- 96. 8.1 เภสัชจลนศาสตร์ในผู้สูงอายุ และการทาปฏิกิริยา ต่อกันของยา การเปลี่ยนแปลงยาภายในร่างกาย (Drug metabolism) - ตับมีขนาดเล็กลง และการไหลเวียนของเลือดในตับลดลง เมื่อ เทียบกับวัยหนุ่มสาว ทาให้ยาเปลี่ยนแปลงที่ตับได้น้อย การขับถ่ายยา (Drug elimination) - การทางานของไตลดลง ทาให้การขับถ่ายยาต่างๆช้าลง
- 97. 8.2 ผลข้างเคียง และข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา ข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา 1. การใช้ยาตามแพทย์สั่ง เมื่อแพทย์สั่งยาชนิดใหม่ - ให้บอกว่าปัจจุบันใช้ยาอะไรอยู่บ้าง เพื่อป้ องกันการให้ยาซ้าซ้อน - แจ้งว่าแพ้ยาอะไรบ้าง และมีอาการอย่างไร หรือยาที่ได้รับมาใหม่ออก ฤทธิไอย่างไร มีผลข้างเคียงอะไรบ้าง - ต้องแน่ใจว่าผู้สูงอายุเข้าใจคาแนะนาต่างๆอย่างถูกต้อง หรือเขียน บันทึกช่วยจาให้ผู้สูงอายุ หรือผู้ดูแล - เขียนฉลากตัวโตชัดเจน - ให้ยาให้ถูกต้องตรงตามชนิด ขนาด เวลา วิธี และบุคคล
- 98. 8.2 ผลข้างเคียง และข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา ข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา 2. การซื้อยามารับประทานเอง - ไม่ควรใช้ยาโดยไม่จาเป็น หรือตัดสินใจใช้ยาด้วยตนเอง - อย่าซื้อยามารับประทานเองเกินกว่า 1 สัปดาห์ โดยไม่ปรึกษาแพทย์ - ถ้ากาลังรับประทานยาที่แพทย์สั่ง ควรตรวจสอบว่ายาที่ซื้อมา รับประทานร่วมกันได้หรือไม่ - หลีกเลี่ยงการซื้อยาราคาแพง ควรใช้เฉพาะยาสามัญประจาบ้าน เท่านั้น
- 99. 8.2 ผลข้างเคียง และข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา ข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา 3. การเก็บรักษายา - ควรมีที่เก็บยาแยกพิเศษ ยาบางชนิดควรเก็บในตู้เย็น - ยาเม็ดควรเก็บใส่ขวดหรือกล่องที่มีฝาปิดให้สนิท อย่าเก็บยาเม็ด หลายชนิดไว้ในขวดหรือกล่องเดียวกัน - อย่าเก็บยาใกล้ความร้อน หรือที่แสงแดดส่องถึง หรือ ใกล้มือเด็ก - ให้ขวดยามีฉลากตลอดเวลา - ไม่ควรเก็บยาเกิน 1 ปี ถ้าเลยไปแล้วก็ควรทิ้ง
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น